- หน้าแรก
/
- รีวิว คุ้มวงศ์บุรี
รีวิว คุ้มวงศ์บุรี
คุ้มวงศ์บุรี อายุ 122 ปี สร้างตามดำริแม่เจ้าบัวถา มหายศปัญญา ชายาองค์แรกของเจ้าหลวงเมืองแพร่
คุ้มวงศ์บุรี อายุ 122 ปี สร้างตามดำริแม่เจ้าบัวถา มหายศปัญญา ชายาองค์แรกของเจ้ากลวงเมืองแพร่ และที่นี่เป็นที่ถ่ายทำละครเรื่องรอยไหม คุ้มหลังนี้มีการออกแบบโดยชาวจีน และ การก่อสร้างคุ้มจะไม่มีการนำตะปูมาตอก แต่ใช้สลักไม้แทน ต้นเสาบ้านจะเป็นไม้ทั้งต้น จุดเด่นของที่นี่บ้านทาด้วยสีขาว และ ชมพู ซึ่งเป็นคุ้มที่ทรงพลังอย่างมาก ลองแวะมาศึกษาประวัติศาสตร์เพิ่มเติมกันนะครับ
ตัวกรอง
เรียงตาม
[ แพร่ ] บ้านสีชมพู " คุ้มวงศ์บุรี " สถาปัตยกรรม 100 ปีศรีเมืองแพร่
# 695# คุ้มวงศ์บุรี คุ้มวงศ์บุรีเป็นคุ้มของเจ้านายเมืองแพร่ในอดีต เป็นบ้านไม้สัก 2 ชั้นแบบยุโรปประยุกต์ โทนสีที่ใช้ในคุ้มวงศ์บุรีจะเป็นสีชมพู ได้สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2440 แบบสถาปัตยกรรมเรือนขนมปังขิง ตามความนิยมในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ปัจจุบันที่นี่เป็นสถานที่ท่องเที่ยวในรูปแบบพิพิธภัณฑ์ ถึงแม้คุ้มวงศ์บุรีจะมีอายุมากกว่า100 ปีแล้ว แต่ยังอยู่ในสถาพที่สมบู...อ่านต่อ
คุ้มวงศ์บุรี อ.เมือง จ.แพร่
คุ้มวงศ์บุรี อ.เมือง จ.แพร่ สร้างขึ้น ตามดำริของแม่เจ้าบัวถา ชายาองค์แรกในเจ้าหลวงพิริยเทพวงศ์ เจ้าผู้ครองนครแพร่องค์สุดท้าย เพื่อเป็นของกำนัลในการเสกสมรส ระว่างเจ้าสุนันตา ผู้เป็นบุตรีเจ้าบุรีรัตน์ และหลวงพงษ์พิบูลย์ คุ้มหลังนี้อาคารแบบไทยผสมยุโรปสีชมพูอ่อน ซึ่งเป็นสีโปรดของแม่เจ้า บัวถา เป็นเรือนไม้สักทองขนาดใหญ่ 2 ชั้นทรงไทยล้านนาผสมยุโรป ประดับตกตกแต่งลวดลายด้วยไม้ฉลุที่เรียกว่าลาย “...อ่านต่อ
คุ้มสีชมพู
คุ้มวงศ์บุรี หรือที่รู้จักกันในอีกชื่อหนึ่งว่า “บ้านสีชมพู” สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2440 ตามดำริของแม่เจ้าบัวถา ชายาคนแรกในเจ้าหลวงพิริยะเทพวงศ์ โดยมอบหมายให้หลวงพงษ์พิบูล และเจ้าสุนันตา วงศ์บุรี หลานสาวของแม่เจ้าบัวถาเป็นผู้ดำเนินการสร้างและจัดหาช่างฝีมือ ซึ่งมีทั้งชาวไทยและชาวจีนคุ้มวงศ์บุรีมีลักษณะเป็นอาคาร 2 ชั้นหลังคาทรงปั้นหยาในแบบสถาปัตยกรรมไทยผสมยุโรป มีการประดับลวดลายแบบเรือนขนมปังขิง ซ...อ่านต่อ
เรือนขนมปังขิงโบราณ สีชมพู ประดับลวดลายฉลุ
คุ้มวงศ์บุรี เรือนไทยโบราณ รูปทรงขนมปังขิง ผสมผสานลวดลายฉละอย่างลงตัว ภายในบ้านทำด้วยไม้สักทอง มีข้าวของเครื่องใช้สมัยโบราณ หนังสือซื้อขายทาสในสมัยก่อน การทำสัมปทานป่าไม้ในจังหวัดแพร่ มีประวัติของเจ้าของบ้านที่น่าสนใจ มีการเก็บค่าเข้าชม 30 บาทดูเพิ่มเติม